โดยทั่วไปผู้มีเงินได้ต้องนำเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมายยกเว้นภาษี หรือที่ไม่ต้องเสียภาษี) ไปคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีภายในเดือนมีนาคมของปีถัดจากปีที่มีเงินได้ การคำนวณภาษีให้ทำเป็น 3 ขั้น คือ
ขั้นที่หนึ่ง คำนวณหาจำนวนภาษีตาม วิธีที่ 1 เสียก่อน
การคำนวณภาษีตามวิธีที่ 1
กรณีที่ต้องคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 ได้แก่ กรณีที่เงินได้พึงประเมินทุกประเภทในปีภาษี แต่ไม่รวม เงินได้พึงประเมินตามประเภทที่ 1 มีจำนวนรวมกันตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป การคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 นี้ ให้คำนวณในอัตราร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พึงประเมิน (= เงินได้พึงประเมินทุกประเภทลบเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 คูณด้วย 0.005) ดังกล่าวนั้น
Monday, October 8, 2012
คำนวนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีจะต้องทำอย่างไร?
เงินได้พึงประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปีภาษี
xxxx
(1)
หัก ค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายกำหนด
xxxx
(2)
(1)-(2) เหลือเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่าย
xxxx
(3)
หัก ค่าลดหย่อนต่าง ๆ (ไม่รวมค่าลดหย่อนเงินบริจาค) ตามที่กฎหมายกำหนด
xxxx
(4)
(3)-(4) เหลือเงินได้หลังจากหักค่าลดหย่อนต่าง ๆ
xxxx
(5)
หัก ค่าลดหย่อนเงินบริจาค ไม่เกินจำนวนที่กฎหมายกำหนด
xxxx
(6)
(5-6) เหลือเงินได้สุทธิ
xxxx
(7)
นำเงินได้สุทธิตาม (7) ไปคำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
จำนวนภาษีตามการคำนวณภาษีวิธีที่ 1
xxxx
(8)
ขั้นที่สอง ให้พิจารณาว่าจะต้องคำนวณภาษีตาม วิธีที่ 2 หรือไม่ ถ้าเข้าเงื่อนไขที่จะต้องคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 จึงคำนวณภาษีตามวิธีที่ 2 อีกวิธีหนึ่ง
กำหนดให้ (10) คือ จำนวนภาษีที่คำนวณได้ตามวิธีที่ 2
การคำนวณภาษี
จำนวนภาษีเงินได้สิ้นปีที่ต้องเสีย เทียบ (8) และ (10) จำนวนที่สูงกว่า
xxxx
(11)
หัก ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายแล้ว
xx
ภาษีเงินได้ครึ่งปีที่ชำระไว้แล้ว
xx
ภาษีเงินได้ชำระล่วงหน้า
xx
เครดิตภาษีเงินปันผล
xx
xx
(12)
(11-12) เหลือ ภาษีเงินได้ที่ต้องเสีย (หรือที่เสียไว้เกินขอคืนได้)
xx
หมายเหตุ สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป หากคำนวณตามวิธีที่ 2 แล้วมีภาษีเงินได้ที่ต้องเสียจำนวนทั้งสิ้นไม่เกิน 5,000 บาท ผู้มีเงินได้ ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามวิธีที่ 2 ( 10 ) แต่ยังคงมีหน้าที่เสียภาษีตามจำนวนที่คำนวณได้ตามวิธีที่ 1 ( 8 ) โดยนำมาสรุปจำนวนภาษีที่ต้องเสียขั้นที่สาม
อ้างอิงจาก http://www.rd.go.th/publish/555.0.html
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
Popular Posts
-
การตรวจสอบ Thyroid function test นั้น เป็นการทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่ใช้บ่อย เนื่องจากโรคของต่อม thyroid ทำงานผิดปกติเป็นโรคที่พบบ่อย แต่อา...
-
SET หรือ The Stock Exchange of Thailand หรือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เ...
-
ต้องลงทุนนานแค่ไหนถึงเอาเงินออกมาได้? - ต้องถือหน่วยลงทุนให้ครบ 5 ปีปฏิทิน (ไม่ว่าจะซื้อหรือขายวันไหนในปีนั้น จะนับปีนั้นเป็น 1 ปี) ยกตัวอ...
-
RMF ย่อมาจากคำว่า Retirement Mutual Fund หรือเรียกในชื่อไทยว่า “กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ” เป็นกองทุนรวมประเภทหนึ่ง (กองทุนรวม หมายถึงการน...
-
การพิจาณาให้วัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและอิมมูโนโกลบูลิน 1. การประเมินภาวะเสี่ยงโรคจากการสัมผัส 1.1 ประวัติของการสัมผัส กลุ่มที่หนึ่...
-
ภงด.91 แบบการยื่นเสียภาษี สำหรับผู้มีรายได้ เป็น เงินเดือน อย่างเดียว (ยื่นเสียภาษี 1 ครั้งต่อปี) ภงด.90 แบบการยื่นเสียภาษี สำหรับผู้มีราย...
-
สมมุติว่า ท่านมีเงินเย็นเดือนละ 3000 บาท เอาไปฝากประจำดอก 3 % แต่เฉลี่ยแล้วมูลค่าอัตรเงินเฟ้อต่อปี 4% สมมุติท่านฝากประจำครบ 2 ปี หรือ 24 เดื...
-
เป็นวิธีการจากมาดากัสการ์ ศรีลังกา กัมพูชา สู่การทดลองครั้งสำคัญบนผืนนาไทย การปักเดี่ยว ซึ่งประหยัดเมล็ดพันธุ์ ช่วยให้ต้นข้าวแสดงศักย...
-
ประวัติความเป็นมา บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2531 เป็นบริษัทหลักในกลุ่มธุรกิจการตลาดและการจัดจำหน่ายของเครือเจร...
-
เพื่อน ๆ ที่ได้รายรับหลักเป็นเงินเดือน ย่อมต้องคุ้นเคยกับการที่ต้องเตรียมยื่นภาษี ภงด. 90 และ 91 กันเป็นอย่างดี บางครั้งอาจจะไม่ค...
0 comments:
Post a Comment